AMD เปิดตัว Excavator Architecture สำหรับตระกูล G-Series Processors – และเพิ่มรหัสรุ่น Brown Falcon และ Prairie Falcon ใน R-Series Lineup

AMD ได้เปิดตัว Excavator architecture ในตระกูล G-Series ที่มีส่วนประกอบของ  SoCs เป็นรุ่นแรกที่จะนำมาใช้กับระบบใหม่นี้ ก่อนหน้านี้ทาง AMD ได้นำระบบ Excavator นี้มาใช้กับตัวสินค้าใหม่ๆหลายรุ่นใน notebook ซึ่งจุดเด่นของระบบนี้อยู่ที่การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นและใช้พลังงานที่ลดน้อยลง มาคราวนี้จะนำมาใช้กับตระกูล G-Series อีกด้วย และยังรวมถึง กลุ่ม LX class of SoCs ที่เป้นโครงสร้างพื้นฐานของ Jaguar based cores และ GCN.

amd

AMD เปิดตัว Excavator เพื่อใช้กับ based Brown Falcon และ Prairie Falcon platforms

AMD วางแผนตลาดเอาไว้เพื่อรองรับลูกค้าให้สามารถเข้าถึงได้ทุกกลุ่ม ทั้งเรื่องพลังงาน และ ประสิทธิภาพ แล้วแต่จะเลือกเด่นในด้านไหน ในรุ่นที่ 3rd Generation G-Series lineup ออกแบบมาและตรง การเพิ่มประสิทธิภาพและราคา หากมองดูที่รายละเอียดจะเห็นว่า ใน chips สามารถรองรับได้กับกลุ่ม อุตสาหกรรม จนไปถึงการเล่นเกมส์แบบทั่วไป และยังเป็นระบบแบบ GPU Open และ HSA environment จะสามารถทำงานควบคู่กับอายุการใช้งานของมันไปกับผู้ใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน

Excavator จะเป็นระบบสุดท้ายที่ทาง AMD’sจะออกมาทิ้งทวนที่มี  FPU design และเป็นที่ถกเถียงกันถึงตัว งานออกแบบ/โครงสร้าง architecture สำหรับรุ่นก่อนๆของทาง AMD processors. ด้วยเหตุผลที่ว่า ในส่วนของ FPU นั้นหากยังทำหน้าที่อยู่ (อยู่ในกระบวนการส่งถ่ายภายใน  core) ต้องรอส่วนแรกนี้ประมวลผลเสร็จก่อนจึงจะทำหน้าที่ๆสองได้ ซึ่งลักษะณ นี้เปรียบสเมือน เป็นคอขวด ซึ่งต้องมานั่งรอการทำงานจนเสร็จจึงจะดำเนินขั้นตอนต่อไปได้ , ปัญหาคือ เนื้อที่ใน die จึงมาซึ่งการปรับเปลี่ยนเป็น   sub-20m architecture ที่ จะเพิ่มเนื้อที่ให้เพิมมากขึ้นใน cores เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับ FPU

amd2

ตารางเวลาของทาง AMD ที่ได้เปิดตัว R-Series ที่เป็น based Merlin Falcon ในปี 2015 และในตอนนี้ ได้ขยายไปสู่ รุ่นที่ 3rd Generation AMD G-Series processors ได้แบ่งออกมาเป็น Brown Falcon และ Prairie Falcon. ในส่วนขยายนี้ได้ใช้ Excavator ที่ปรากฎในตัว R-Series ด้วยเช่นกัน  และมีลักษะณแบบสองชั้นซึ่งเทากับจำนวนแกน cores ในแต่ละ  SoC. ส่วนในตระกูล I-Family (Brown Falcon) จะมีเพียง single Excavator Module (2 integer + 1 floating point) ตรงจุดเชื่อมต่อด้วย 4 GCN CUs (จำนวนทั้งหมด 256 stream processors). ด้วยวิธีนี้ตัว IPC จะมีประสิทธิภาพที่เป็น  Excavator มากกว่าตัวระบบ  Steamroller และด้านพลังงานอีกด้วย

มาทางด้าน J-Family (Prairie Falcon) จะมีการลดใช้พลังงาน พร้อม single Excavator module แต่เป็น 2 GCN CUs.  I-Family สามารถรองรับ dual channel DDR3 หรือ DDR4 ECC memory และมีค่า TDP อยู่ที่ 15W ที่เหมือนกับความสามารถที่รองรับ  SATA 2 ports แต่ J-Family รองรับเพียง single channel non-ECCC DDR3/DDR4 และเป็น  SATA  1 port. ทั้งสองอย่างนี้มี  4 PCIe 3.0 lanes และ 2 USB 3.0 และ มี 1 USB 2.0.

AMD ยังเสนอตัว LX class of SoCs รุ่นใหม่ ที่มุ่งไปที่ตลาด อุตสาหกรรมประกอบอัตโนมัต (industrial automation), ทหาร (military )และ อากาศยาน (aerospace), โทรมนาคม(networking/communications)  โดยจะเป็น dual core Jaguar CPU ที่เป็น 1 GCN CU. ตัวโครงสร้างจะรองรับ  single channel DDR3 และ จะมีค่า TDP อยู่ที่  6W-15W.ส่วน AMD’s G-Series จะรองรับ FT3 และ  FP4 sockets ในรุ่น G-Series LX parts จะเป็น FT3 package ส่วนรุ่น  Brown Flacon และ Prairie Falcon จะเป็น FP4.

amd3

amd4

amd5

amd6

amd7

amd8

amd9

amd10

amd11

amd12

amd13

amd14

amd15

amd16

ที่มาเครดิต wccftech

 

Related articles

Write-Up (Reverse Engineering) : กิจกรรม SWU CTF แข่งขันชิงธงจาก มศว. สำหรับน้อง ๆ สาย Cybersecurity

ผมคิดว่าหลาย ๆ คนที่เคยอ่านเรื่องราวของผมมาบ้าง น่าจะพอทราบกันดีว่าปกติผมสอบใบเซอร์อย่างเดียว ไม่ได้เคยลองทำงานหรือลงแข่งในสนามจริงของ Cybersecurity มากนัก โดยเฉพาะฝั่ง Red...

แนะนำ 5 ดิสโทร Linux สำหรับมือใหม่โยกย้ายจาก Windows

เมื่อ Windows 10 กำลังจะหยุดการสนับสนุนในปี 2025 เรามีทางเลือกหลายทางเลือก (อ่านเพิ่มเติมที่นี่) ทางเลือกหนึ่งสำหรับคนที่ไม่อยากไปต่อกับ Windows...

5 ทางเลือกของคุณ เมื่อ Windows 10 หยุดซัพพอร์ต

14 ตุลาคมนี้ Microsoft จะยุติการซัพพอร์ต Windows 10 อย่างเป็นทางการนะครับ อาจมีเพื่อน ๆ...

วิเคราะห์ลิงก์ปลอม แจก Steam Gift ขโมย Username/Password ผู้ใช้ !!

นั่งคอมอยู่ดี ๆ จู่ ๆ ก็มีแชตเด้งจากใน Steam ขึ้นมา เป็นลิงก์แจก Steam...

แชร์ประสบการณ์สอบ TryHackMe PT1 – เจาะระบบสำหรับ Junior จริงหรือเปล่า?

เพิ่งสอบ PJPT ไปหมาด ๆ (อ่านรีวิว PJPT ได้ที่นี่) ผมก็ต่อใบเซอร์อีกค่ายเลย นั่นคือ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า