เปิดเผย AMD Radeon 400 Series Mobility GPUs – รุ่น R9 M485X, R9 M470X และ R9 M470 GPUs

เปิดตัวอย่างเป็นทางการ AMD Radeon 400 Mobile GPUs – Radeon R9 Series จะใช้ Polaris GCN 4.0 Architecture เหมาะสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่

AMD Radeon 400 series mobile/อุปกรณ์เคลื่อนที่ lineup มีมาด้วยกันทั้งหมด 11 SKUs ขึ้นอยู่กับคุณักษณะบองแต่ละ GPU (Configurations). chips บางตัวก็จะเป็นรุ่นใหม่, แต่ส่วนใหญ่แล้วนำของเก่ามาใส่และใส่ชือรหัสใหม่ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่ม Radeon 300 series mobility lineup ก็หมายความว่าสินค้าที่อยู่ในระดับล่าง/low-end จะไม่มีอะไรที่แตกต่างเสียเท่าไหร่. จะเป็นเฉพาะ chips ที่อยู่ระดับบนขึ้นไปหรือเป็นสินค้าหลักที่เป็นที่ชื่นชอบและขายดีในตลาดเท่านั้นที่จะมีส่วนได้ส่วนเสียกับตระกูล Polaris architecture ใหม่นี้ ซึ่งจะได้ประโยชน์ทั้งทางด้านประสิทธิภาภและขีดความสามารถด้านพลังถึง  2.5 เท่า.

AMD Radeon 400 series ที่ใช้ Polaris GPUs จะมีอยู่บางส่วนที่จะใช้ GCN 4.0 family. ในตระกูล GCN 4.0 architecture เป็นงานปรับปรุงและเปลี่ยนแปรง/อัพเดท ตัว main processor, การวางผังวงจรใหม่ และการอัพเดทการทำงานของตัว core blocks. แม้กระทั้งตัว Polaris architecture ยังมีการอัพเดท ในส่วนของขั้นตอนการทำงานใหม่ของตัว ฮาร์ดแวร์/Primitive Discard Accelerator, Hardware Scheduler, การนำหรือรอคำสั่งล่วงหน้า ขีดความสามารถกำหนดโทนสี และ, Improved Shader Efficiency and ประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่ๆจำกัดด้านขนาดข้อมูล/memory compression technology.

AMD Polaris GPU

Polaris GPUs ถูกสร้างอยู่บนโครงสร้างฐานใหม่ 14nm FinFET process node ซึ่งมีความก้าวหน้าทั้งทางด้านขีดความสามารถและประสิทธิภาพ ความก้าวหน้าทางด้านความหนาแน่นของตัว transistor density ที่สูง  ผลก็คือการใช้พลังงานที่ต่ำลงและรั่วไหลน้อยกว่ารุ่นที่แล้ว แต่ว่าเฉพาะกับรุ่นที่อยู่หรือใช้ Polaris architecture เท่านั้นส่วนที่เหลือ (รูปด้านล่าง) ทำเพียงแค่ปรับปรุงตัวและอัพเดทตัว chips เท่านั้น ซึ่งเคยอยู่ในกลุ่ม HD 8000 series.

jj3

AMD Radeon R9 M400 Series lineup มีทั้งหมดสามรุ่นด้วยกัน. Radeon R9 M485X, Radeon R9 M470X และ Radeon R9 M470. ทั้งสามรุนนี้จะขึ้นอยู่กับ GPUs ที่จะกล่าวถึงเช่น, Radeon R9 M485X ขับเคลื่อนด้วย AMD’s Antigua XT GPU. ตัว chip นี้มีองค์ประกอบและรายละเอียดทางเทคนิคเหมือนกับ Radeon R9 M395X ที่มี 8 GB ที่เป็น GDDR5 memory ที่ทำหน้าที่ควบคู่กับ 256-bit bus และมีค่าความเร็วที่ 1250 MHz memory clock. ตัว chip จะมีความเร็ว clocked ที่จะเหมือนกับรุ่นที่แล้ว

อีกสองรุ่นที่เหลือซึ่งใช้ตัว Bonaire GPUs. ตัว Radeon R9 M470X มี compute unit/ตัวคำนวณ ทั้งหมดอยู่ 14 ตัว ซึ่งมี 896 stream processors ส่วน Radeon R9 470 GPU มี 12 compute units ที่มี 768 shaders/ตัวประมวลผล. ทั้งคู่มี 4 GB of GDDR5 memory มี 128-bit memory interface และ clock ที่ 1500 MHz

jj4

AMD Radeon R7 M400 Series lineup มีมาทั้งหมด 5 รุ่นด้วยกัน ไม่ต้องหวังเลยว่าจะอยู่หรือใช้ Polaris chip ในตระกูลนี้. ทั้งหมดจะใช้ GPUs รุ่นที่แล้ว. มาเริ่มที่ Radeon R7 M465X ที่มี 512 stream processor มี 4 GB ที่เป็น GDDR5 VRAM ความเร็ว clocked ที่ 1125 MHz. สองรุ่นต่อมาที่ใช้ Topaz XT คือ Radeon R7 M65 และ R7 M465 ซึ่งแชร์รายละเอียดทางเทคนิคเหมือนกัน มี 384 stream processors มี 4 GB VRAM. ตัว M465 นั้นใช้ GDDR5 ส่วน 460 ใช้ DDR3 memory. และยังมีการลดทอนทางด้านการประมวลผลทางด้านตัวคำนวณลงเหลือแค่ 5 compute units (มี 320 stream processors) และยังรวมถึงรุ่น Radeon R7 M445 และ Radeon R7 M440
jj5
Radeon R5 400 series lineup มีมาทั้งหมด 3 รุ่น GPUs ด้วยกัน ซึ่งการตลาดมุ่งไปที่ระดับล่างเท่านั้น ตระกูล SKUs นี้ จะประกอบไปด้วยรุ่น R5 M435, R5 M430 และ R5 M420 ซึ่งใช้ Sun XT และ Jet Pro GPUs. GPUs ทั้งหมดมีรายละเอียดและ core configurationที่เหมือนกันและมี 320 stream processors. Memory มี 4 GB ที่เป็น GDDR5 หรือ DDR3 มีความเร็ว clock ที่ 1000 MHz และมี 64-bit bus. ดูรูปด้านล่างประกอบ

jj6

ที่มาเครดิต

http://wccftech.com/amd-radeon-400-mobility-gpus-confirmed/

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า