AMD เปิดตัว Radeon Pro Duo, Dual Fiji GPU อย่างเป็นทางการแล้วด้วยราคาเพียง$1500 – 16.38 TeraFLOPS 8GB HBM

Radeon Pro Duo พกกล้ามเบอร์ 16.38 TFLOPS พร้อมกินไฟที่ 350 Watts $1500

ตัวการ์ดประกอบไปด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้น multi-piece aluminum/แผ่นอลูมิเนียม และโครงสร้างใชัวัสดุนิกเกิล/nickel พร้อมด้วยไฟโลโก้ LED Radeon logo. ตัวบอร์ดมาพร้อม dual BIOS switch สำหรับแบคอัพซอร์ฟแวร์  มีระบบทำความเย็นที่เป็นแบบ closed loop/แบบหมุนเวียนแบบปิดจาก Cooler Master. ตัวหม้อน้ำที่ทำหน้าที่ลดอุณภูมิให้กับ GPUs ทั้งคู่มีขนาด 120mm Nidec unit. ตัวการ์ดต้องการ 8-pin connector ทั้งหมด 3 แถว เพื่อการบริโภคไฟขนาด 350 Watts (หากเทียบกับ single Fury X ที่กินไฟที่ 275W ถือว่าใช้ได้). memory ที่มาให้บนบอร์ดเป็น 8GB ที่เป็น HBM. ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น สามารถทำได้ดีกว่า 1.5 เท่าเมื่อเทียบกับ Geforce GTX Titan X และ 1.3 เท่าเมื่อเทียบกับ  R9 295X2 ในรุ่นที่แล้ว

Radeon Pro Duo

radeon-pro-duo-briefing-deck-page-002

radeon-pro-duo-briefing-deck-page-005

The Radeon Pro Duo และ Liquid VR

ณ ขณะนี้ Radeon Pro Duo เป็นการ์ดจอรุ่นเดียวที่มีประสิทธิภาพที่แรงที่สุด และเป็น dual-GPU graphic cards ตัวการ์ดมาพร้อม Liquid VR ซึ่งจะสามารถให้ผู้ใช้ได้สัมผัสประสบการ์ณที่สมจริงมากยิ่งขึ้นกับ VR application ทั้งหลาย ที่ผ่านมาทาง AMD ได้ทุ่มเทเวลาให้กับ อุตสาหกรรม VR industry มามากโดยเฉพาะกับการ์ดจอรุ่นใหม่นี้ที่จะมารองรับระบบ VR และแน่นอน ผู้บริโภคทั่วไปต้องสามารถเอื้อมถึงด้วย ไม่ว่าจะเป็น Oculus Rift หรือ HTC Vive ความต้องการขีดความสามารถพื้นฐานย่อมมากกว่าแต่ก่อน ตัว Oculus Rift มึภาคจ่ายภาพที่เป็น 2k resolution ที่ 90 frames per second. และการที่จะนำเอาการ์ดจอรุ่น GTX 970 หรือ Radeon R9 290 มาใช้เพื่อสามารถที่จะจ่ายภาพได้ตรงตามสิ่งที่ Oculus Rift กำหนดมาก็ค่อนข้างที่จะเหนื่อยไปหน่อย และนี้ก็คือเหตุผลที่ทำไม Radeon Pro Duo และ LiquidVR เข้ามามีบทบาทแทน

12754895_10100130663806049_1250771139_o

amd-radeon-pro-duo-capsaicin-gdc-2016-1

Radeon Pro Duo มีกำลังพอที่จะทำงานร่วมกับ LiquidVR และ DirectX 12 ที่จะมานำเสนอและเล่นบทของ VR content และข้อกำหนดที่ต้องการต่างๆได้แบบสบายๆ ด้วยความเร็วทางด้านคำนวณที่มากถึง 16 TFLOPS ของ FP32, สามารถทะลุกำแพง VR workloads ได้ง่ายๆและโดยเฉพาะกับการ์ดจอที่เป็น single graphics card ที่ถูกปรับแต่งมาใหม่เพื่อรองรับ VR spec Oculus Rift และ HTC Vive ตอนนี้ได้วางจำหน่ายออกสู่ตลาดแล้ว และการ์ดจอรุ่นนี้ก็เป็นคำตอบทุกอย่างที่โลกของ VR ต้องการ แต่หากว่า มันอาจจะดูธรรมดาเกินไปในคอมเคสของคุณ ต้องการการ์ดจอสองตัวในหนึ่งเครื่อง แทนที่จะเป็นการ์ดจอเดียว (แต่มี GPU 2 ตัว) ทาง  AMD กำลังจะปล่อยตัว Polaris 10 และ 11 GPUs ภายในปีนี้ และมันสามารถตอบโจทย์ให้กับ VR spec ได้แบบปริมๆ “minimum VR spec” ด้วยราคาที่ทุกคนจับต้องได้ 

vt

ที่มาเครดิต

http://wccftech.com/amd-radeon-duo-pro-dual-fiji-1500/

 

 

 

 

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า