ทดสอบ AMD Radeon RX 480 บน 3DMark – Polaris 10 รองรับ VR Spec โดยมีราคาแค่ $199 หรือประมาณ 8000 บาท!!

ทดสอบ AMD Radeon RX 480 บน 3DMark  – Polaris 10 รองรับ VR Spec โดยมีราคาแค่ $199 หรือประมาณ 8000 บาท!!

รายละเอียดการทดสอบสามารถหาดูได้ใน 3DMark database และรายการแต่ละการ์ดจอที่ไม่รู้จักใน Generic VGA. ทางเราสามารถยืนยันว่าตัวการ์ดจอที่ถูกทดสอบในกลุ่มนี้มี RX 480 ร่วมอยู่ด้วย เพราะว่าตัว clock speeds และ memory clocks เป็นแบบเดียวกันกับที่ทาง Polaris ได้เปิดตัวและในรายการก็มีเขียนไว้ว่าเป็น device ID listed  “67DF:C7”. ตัวการ์ดสามารถทำได้ถึงจุด P-Score ที่14 461 points/คะแนน, ซึ่งมีค่าเหนือกว่าสเป็คของ  VR spec ขึ้นมานิดหน่อยและครึ่งทางของการรองรับ 4K ready gaming PC. และตัวที่ถูกทดสอบก็เป็น 8GB อีกด้วย

uy

ทางด้านประสิทธิภาพนั้นเมื่อเทียบกับราคาแค่ $199 นั้นถือว่าคุ้มมาก แต่หากซื้อจากตัวแทนแล้วอาจจะมีราคาเพิ่มขึ้นนิดหน่อย คุณกำลังได้ประสิทธิภาพระดับเดียวกับ Radeon R9 390 ที่ถูกลดราคาลงมาถึง 40% และการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพที่ดีกว่าเกือบสองเท่าเลยทีเดียว  ทาง AMD พยายามทำตลาด ตัวการ์ดจอนี้เพื่อให้เป็นทางเรื่องสำหรับเหล่า gamers ที่บางที่อาจจะไปสนใจตัว RX 480 CF configuration ถึงแม้ว่าบทสรุปทางด้านประสิทธิภาพที่ได้เห็นกันแล้วว่าเป็นเช่นไร  (อันนี้ยังไม่รวมถึง multi GPU setups ที่ยังไม่เป็นที่สรุปออกมา ไม่ว่าจะเป็น Nvidia หรือ AMD).
แต่ว่าตัวการ์ดรุ่นนี้ก็ยังไม่ใช่รุ่นท็อปสุดของทาง AMD’s 4xx lineup. และทางเราก็ได้เห็นตัวอย่างของสายพันธ์ Vega ที่ค่อนข้างเอาเรื่องอยู่เหมือนกันและพร้อมที่จะเปิดตัวไม่ปลายปีนี้หรือก็ต้นปีหน้าอย่างช้า 2017 และทาง AMD จะเริ่มปล่อยสายพันธ์ Zen based processors ในปีนี้ซึ่งจะมีประสิทธิภาพที่เหมือนทางของ Intel ที่ให้มา. ระบบ VR เป็นสิ่งที่ท้าทายโดยตรงกับผู้ผลิตการ์ดจอ โดยเฉพาะกับทาง AMD ได้ทุ่มหมดหน้าตักเลยก็ว่าได้.

AMD Radeon RX 480

ด้วยราคาเริ่มต้นจากเตา $199 ตัว RX 480 หวังไว้ว่าจะเป็นที่หนึ่งในตลาดให้ได้ มันจะช่วยให้ทาง AMD นั้นสามารถที่จะมาทดแทนกับสิ่งที่ไม่จำเป็นในตัว GTX 1070 และ GTX 1080 (ให้มาเยอะไป) หากเทียบประสิทธิภาพกันแบบต่อดอลล่าร์และยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้กับทาง AMD อีกด้วยและสามารถจะมาอยู่ในตำแหน่งที่ทาง Nvidia คิดไม่ถึงหรือเข้าไม่ถึง. ซึ่งจริงๆแล้วเหล่า gamers และผู้เชี่ยวชาญทางสาขาอาชีพ ก็ไม่ได้ต้องการการ์ดจอที่สามารถรองรับระบบ VR experience ที่แพงจนเกินไป เพราะแค่ตัว Rift และ Vive นั้นก็ทำให้กระเป๋าฉีกไปแล้วก็ไม่น้อย 

ยุทธวิธีของทาง AMD’s strategy อาจจะมาถูกทางก็ได้เพราะแต่ละคนได้ใช้เงินไปแล้ว $599 ถึง $799 (หรือมากกว่านั้น) และต้องการจำกัดงบของตัวเองในการเล่นระบบ VR. ตัว GTX 970 สามารถหาซื้อได้ใน Amazon ที่ $309. ส่วน $199 ซึ่งเป็นราคาของ RX 480 ที่มีค่าตัวถูกกว่า $100 แต่ดีกว่า ด้วยประสิทธิภาพของการ์ดตัวใหม่นี้สามารถรองรับได้ทั้ง HTC Vive และOculus Rift (ในระดับที่ปริบๆนะที่รับได้)– และยังไม่ได้พูดถึงการเพิ่มเข้ามาของ DX12 Asynchronous Compute support. ตัวการ์ดน่าจะเปิดวางจำหน่ายภายในเดือน มิถุนายน นี้

uy2

ที่มาเครดิต

http://wccftech.com/radeon-rx-480-3d-mark-benchmarks/

 

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า