ผลการทดสอบ AMD Radeon Vega รุ่น Frontier Edition แรงกว่าข่าวก่อนหน้าที่หลุดออกมา

ผลการทดสอบ AMD Radeon Vega รุ่น Frontier Edition แรงกว่าข่าวก่อนหน้าที่หลุดออกมา

 

คะแนนจาก Compubench scores ที่เป็นของ AMD Radeon Vega Frontier Edition หลุด (ข่าวจาก Videocardz.com โดย Miklos) ถือว่าน่าจะเป็นที่สุดแล้วสำหรับการพัฒนาและได้ข้อสรุปความเร็ว clock ที่ 1600 MHz. และ RX Vega FE graphics card ก็จะเป็นการ์ดต้นแบบหรือ reference edition จากตระกูล Vega.

หากจะถามว่าเชื่อถือได้แค่, ต้องกล่าวก่อนว่าผลทดสอบที่ได้จาก Compubench อาจจะไม่ดีเท่าเหตุเพราะขีดความสามารถในการรองรับ driver ที่ไม่ดีเท่าที่ควรและคะแนนที่เผยออกมาก็ยังต่ำกว่า R9 Fury X graphics card เสียอีก. แต่มีสิ่งหนึ่งที่สามารถยืนยันได้ก็คือ Clock Rate * 2 * Core Count อันนี้น่าจะรู้นะว่าคำนวณยังไง และสำหรับค่าการประมวลผลการคำนวนของ RX Vega FE จะอยู่ที่ 13.1 TFLOPs , และพลังงานอยู่ที่ 250W ถือว่าใช้ได้เลย.

RX Vega GPU นั้นขึ้นเขียงด้วยระบบกระบวนการผลิตแบบ 14nm FinFET node ซึ่งจะเป็นใครเป็นไปไม่ได้ GlobalFoundries. และจะมาพร้อม 16GB ที่เป็น HBM memory และน่าจะเป็น HBM2, พร้อมด้วย 2048-bit bus width.

และใน Compubench ตัวซอร์ฟแวร์สามารถจับได้ว่าตัวการ์ดมี 4GB ที่เป็น memory ซึ่งไม่น่าจะใช่หรือมันอาจจะเป้นการ์ดรุ่นที่ต่ำกว่า. หากเทียบทางด้านประสิทธิภาพดูเหมือนจะเป็น Vega ที่ถูกลดทอน, หากใช่.

ข้อสังเกตุผลทดสอบ AMD Radeon RX Vega Frontier Edition และเปรียบเทียบกับ ‘687F:C1’ Vega Prototype/ตัวต้นแบบด้วย Compubench, 3DMark TimeSpy และ FireStrike

สำหรับผลทดสอบของตัวต้นแบบ 687F:C1 prototype ก็เคยผ่านการทดสอบกันมาก่อนและเป็นบททดสอบเดียวกันซึ่งให้ผลลัพท์ออกมาค่อนข้างน่าจะเป็นไปได้, ครั้งล่าสุดความเร็ว clocked นั้นอยู่ที่ 1200 MHz, และล่าสุดเรายังเห็นการทำทดสอบร่วมกับ Ryzen 7 1800X และ 1700X processors และเป็นบททดสอบของ TimeSpy benchmarks. อย่าลืมว่านี้เป็นประสิทธิภาพที่ได้มาจาก 1200 MHz clock speed, ซึ่งหากเป็น 1600 MHz ประสิทธิภาพมันต้องดีกว่านี้มากหรือเทียบได้ 33% ที่จะทำได้ดีขึ้น.

อย่างที่คุณเห็น, สำหรับรุ่นต้นแบบ 687F:C1 ทำ clocked ที่ 1200 MHz และสามารถทำได้แรงกว่า RX Vega Frontier Edition. อันนี้ชัดเจนเลยว่า Compubench นั้นผิดเต็มๆเหตุเพราะปัญหาทางด้าน driver. เมื่อเร็วๆนี้ทางเรามีโอกาศได้เห็นตัวต้นแบบ 687F:C1 ใน 3DMark. และยังมีบางคนนำเอา 1200MHz prototype/ตัวต้นแบบขับเคลื่อนด้วย AMD Ryzen 7 processors. และนี้คือผลลัพท์ที่ได้มาอยู่ด้านล่าง.

เราได้เห็นความเร็ว clocked ของ Vega prototype/ตัวต้นแบบ สู้กับ AMD Fury X series และผลลัพท์อันนี้ไม่ได้สะท้อนถึงประสิทธิภาพของ Vega Frontier Edition, และนี้น่าจะเป็นตัวอย่างที่ดีว่าตัวจริงประสิทธิภาพของมันน่าจะเลยหรือประมาณ 30% ขึ้น.  สรุปและอ้างอิงจากข่าวชิ้นนี้ก็คือ สำหรับรุ่น FE จะทำ clocked ที่ 1600 MHz, และผลลัพท์การคำนวณจะอยู่ที่ 13.1 TFLOPs.

ที่มาเครดิต/Sources:

http://wccftech.com/amd-radeon-vega-frontier-edition-compubench-benchmark/

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า