ครั้งแรกกับบททดสอบ AMD Ryzen 7 1700X

ครั้งแรกกับบททดสอบ AMD Ryzen 7 1700X

 

และแล้วเราก็มีข้อมูลเกี่ยวกับการทดสอบที่แท้จริงตัวจริงของ Ryzen.  ตัว CPU ที่นำมาทดสอบนั้นยังใช้รหัสชื่อ (AMD Ryzen: ZD3406BAM88F4_38/34_Y), อักษรย่อ F4 ย่อมาจาก B-steppings qualification sample หรืออีกความหมายหนึ่งว่าเป็นตัวที่ใกล้เคียงที่สุดที่จะนำออกมาวางขาย.

หากนำเอาโหมด Turbo ออกหรือไม่ใช้งานใน Ryzen CPU (disabled) ก็ดูเหมือนไม่ค่อยจะน่าตื่นเต้น, แต่ว่าในด้านทฤษฏีแล้วประสิทธิภาพของมันก็ยังดีขึ้นกว่าเก่า. สำหรับ Ryzen 7 รุ่นนี้ที่นำมาทดสอบนั้นมีความเร็ว base clock ที่ 3400 MHz. จากสิ่งที่เรามองเห็น, นี้คือรุ่น Ryzen 7 1700X, ก็หมายความว่ามันยังไม่ใช่ตัวที่แรงที่สุดจาก Ryzen.

สิ่งที่น่าสนใจในการทดสอบนี้อีกอย่างก็คือ Ryzen 7 CPU ถูกนำมาทดสอบร่วมกับ .. MSI A320 motherboard, ซึ่งเป็นรุ่นนี้ this.

บอร์ดรุ่นนี้เป็นรุ่นพื้นฐานเท่านั้นหรือ entry-level AM4 motherboard, เราจึงไม่รู้แน่นอนว่ามันจะส่งผลกระทบใดๆทางด้านประสิทธิภาพหรือเปล่า, และนี้อาจจะเป็นสามารถเหตุที่เราไม่สังเกตุเห็น Turbo mode ตั้งแต่แรก.

สิ่งที่สำคัญอีกอย่างก็คือทางด้าน memory timings (17-17-17-39 2T) @ 2400 MHz. ตัวเลขนี้อาจจะส่งผลกระทบในแง่ลบทางด้านประสิทธิภาพ, เพราะ timings ลักษณะนี้ไม่ค่อยจะสวยเสียเท่าไหร่.

บททดสอบ/Passmark benchmark

ผังเปรียบเทียบด้านล่างนี้และตัวเลข/metrics เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง Intel Core i7 6800K แบบธรรมดาและ Ryzen (หรือ Ryzen 7 1700X):

Ryzen CPU Test

เปรียบเทียบแบบตัวต่อตัวกับ i7 6800K:

บททดสอบ/SiSoft benchmark

เรายังได้ทำการทดสอบกับ SiSoft benchmark เป็นครั้งแรกอีกด้วยและผลที่ได้. สำหรับ 16-thread Ryzen CPU ทำตำแหน่งได้ 2513th position. การันตีออกมาว่า-ดีเยี่ยมทางด้านประสิทธิภาพ. การทดสอบครั้งนี้ทดสอบด้วย Multi-media processing.

ผลที่ได้ Ryzen 7 1700X ถูกจัดวางไว้ที่ตำแหน่ง 42 จากการทดสอบทางด้านนี้. และมันแค่รังท้าย Kabylake Intel Core i7 7700K, ซึ่งสามารถแรงกว่าสเป็คของมันเองได้ถึง 100 MHz.

ที่มาเครดิต/Sources:

https://videocardz.com/65825/first-amd-ryzen-7-1700x-benchmarks-are-here

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า