ประกาศเปิดตัวอย่างเป็นทางการ Intel Apollo Lake จะเป็นตัวประมวลผลอยู่ใน Power Notebooks และ อุปกรณ์เคลื่อนที่ในอนาคต

Apollo Lake processors from Intel ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้ว เพื่อนำไปใช้กับผู้ผลิตอุปกรณ์เคลื่อนที่ชั้นนำและสินค้าที่เป็น desktop, laptop และ server processors นำไปใช้กับสินค้าที่กำลังจะออกมาใหม่ๆ โดยเฉพาะ อุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น notebooks, tablets, และ 2-in-1 hybrids
Intel Apollo Lake

Apoll Lake Processors ใช้โครงสร้างฐาน 14nm ‘Goldmont’ CPU Architecture – คาดว่าจะมาในช่วงไตรมาสที่สองของปี 2016 

Apollo Lake chip lineup จะมีประสิทธิภาพที่เหนือกว่าตัว Braswell family. และจะมาแทน Airmont ด้วยโครงสร้างฐานใหม่นี้ 14nm Goldmont architecture, สามารถเพิ่มขีดความสามารถทางด้าน Instructions per cycle (IPC)/จำนวนรอบต่อหนึ่งคำสัง ประสิทธิภาพได้ดีขึ้น

ตัว Apollo Lake lineup จะประกอบไปด้วย dual-cores และ quad-cores มาพร้อมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยค่าอยู่ที่ 6W, จนถึง 10W. ตัว processors นี้จะเป็นแบบ BGA packaging/ball grid array/เป็นแบบแถวจุดทรงลูกบอลครึ่งลูก ,ก็จะหมายความว่าได้ยึดหรือติดตั้งเข้าไปใน motherboards ก่อนที่จะนำออกมาขายแล้ว เพราะว่ามันจะประกอบอยู่ในอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆที่จะมีราคาไม่คอยสูงมากนัก ประสิทธิภาพก็คงจะสู้ไม่เท่ากับตัว 14nm Skylake processor lineup.

หากแต่ว่าถ้าเป็นสินค้าประเภท high-end tablets ก้อาจจะอัพเกรดเพิ่มให้อีกหน่อย เพราะว่าตัว Goldmont architecture ใหม่นี้ สามารถทำ clock speeds เพิ่มขึ้นได้ถึง 2.7GHz. และด้วยจุดเด่นทางด้านการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ ทาง Intel จะขาย processors เหล่านี้ให้กับทาง OEMs ผู้ผลิตสินค้าประเภทพกพาเป็นหลักในอนาคต และอุปกรณืเคลื่อนที่เหล่านี้ก็จะมีขนาด battery capacities ที่อยู่ในเครื่องเล็กลง ด้วยขีดความสามารถใหม่ๆกับสถาปัตยกรรมนี้ สามารถที่จะมาชดเชย ต้นทุนต่างๆได้อย่างแน่นอน

ขนาด/ชนิดของ Memory สามารถเลือกได้อย่างหลายรูปแบบ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทาง  Apollo Lake Configuration

ตัว 4GB LPDDR3 memory ที่มีย่านความถี่ที่ 1866MHz จะเป้นส่วนหนึ่งที่จะอยู่ใน package/รูปแบบ, และด้วยคุณสมบัตของตัว Apollo Lake, ทางผู้ผลิตสามารถเลือกชนิดของ memory มาใช้ได้หลายอย่างด้วยกัน เป็นเพราะว่าตัว platform/พื้นฐานหรือโครงสร้าง สามารถที่จะรองรับได้ทั้ง  LPDDR4 และ DDR3L memory, และในหมวดที่เป็น internal memory ก็ยังรองรับ eMMC และยังมีตัว M.2 ที่ยังรองรับ compact SSDs.

Intel Apollo Lake hy3

บางทีเราอาจจะเห็นตัว Type-C USB port. ที่จะสามารถทำหน้าที่หรือรองรับการชาร์ตไฟด้วยสายเคเบิ้ลก็ได้ ซึ่งสามารถดึงพลังงานมาได้ถึง 100 watts และการโอนถ่ายข้อมูลได้ที่ 10Gbps, ซึ่งเป็นสองเท่าของข้อจำกัดใน USB 3.0.  Apollo Lake chips จะปรากฏตัวอยู่ในสินค้าดังต่อไปนี้

  • AIO PCs
  • NUC form factor computers/Next Unit of Computing/เป็นคอมขนาดเล็ก
  • Notebooks
  • Chromebooks
  • Tablets
  • 2-in-1 hybrids

ที่มาเครดิต wccftech

 

 

 

 

 

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า