NVIDIA Pascal พร้อมแล้วที่จะขับเคลื่อนระบบภาพแบบ HDR สำหรับ Games และภาพระดับ 4K

NVIDIA Pascal พร้อมแล้วที่จะขับเคลื่อนระบบภาพแบบ HDR สำหรับ Games และภาพระดับ 4K

เป็นอะไรที่ปรกติอยู่แล้ว กับการมาของการ์ดจอรุ่นใหม่ๆ โดยเฉพาะกับตัว GTX 1080 Pascal-based GPU ที่มีประสิทธิภาพเต็มเปี่ยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับขีดความสามารถใหม่ๆที่ออกมาให้ตื่นตาตื่นใจ อย่างในครั้งนี้ มีระบบ Simultaneous Multi-Projection, Fast Sync และ Ansel มาเพิ่มศักยภาพทางด้านการจ่ายภาพ
GTX-1080-HDR

ในบทความนี้ จะขอเน้นไปที่การขับเคลื่อนหรือการรองรับระบบภาพ HDR ช่วงต้นปีที่ผ่านมานั้น ในงาน CES 2016, ทาง AMD ได้เปิดเผยความคิดริเริ่มทางด้านการรองรับระบบ HDR และในตอนนี้ ทาง NVIDIA ได้ออกมาตอบโจทย์ข้อนี้อีกเช่นกัน และมันก็คือ Pascal.

หากมองในด้านตัวฮาร์ดแวร์แล้ว ตัวการ์ดจอใหม่ต้องมีส่วนประกอบที่สำคัญที่สามารถจะตอบโจทย์ข้อนี้ให้ได้ แต่ดูเหมือนว่า ตัว Maxwell ดันมีอ่ะ!!! (12-bit color depth/ความเข้ม, BT.2020 wide color gamut/ขอบเขตุความกว้างของสี, Perceptual Quantization หรือเรียกอีกอย่างว่า Dolby Perceptual Quantizer (PQ), เผยแพร่โดย SMPTE/Society of Motion Picture Engineersas มาตรฐานตามหลัก SMPTE ST 2084, คือรูปแบบการทำงานของระบบ/transfer function เพื่อสามารถจ่ายภาพออกมาเป็นสัญญาน high dynamic range (HDR) video ด้วยความเข้มของแสง/luminance ในระดับถึง 10,000 cd/m2 และสามารถใช้ร่วมกับ Rec. 2020/ITU-R Recommendation BT.2020 ความละเอียด เฟรมเรท ความเข้มของสี และเฉดสี), และ HDMI 2.0b 10/12b สำหรับ 4K HDR):

  • 4K@60hz 10/12b HEVC Decode/ถอดรหัส (สำหรับHDR Video)
  • 4K@60hz 10b HEVC Encode/ใส่รหัส (สำหรับ HDR recording & streaming)
  • ระบบ DP 1.4 ready HDR Metadata Transport/การต่อเข้ากับเครื่องรับ HDR displays โดยใช้ DP

แต่ก็อีก เฉพาะตัวฮาร์ดแวร์อย่างเดียวอาจจะไม่พอ ทาง NVIDIA ประกาศต่อบริษัทสตูดิโอทั้งหลายเพื่อที่จะทำให้สำเร็จกับการรองรับระบบ HDR โดยจำเพาะกับเกมส์:

  • Rise of the Tomb Raider
  • Paragon
  • Shadow Warrior 2
  • The Witness
  • Lawbreakers
  • The Talos Principle
  • Obduction

และจากการที่ทาง NVIDIA จะดำเนินการให้เป็นผลสำเร็จให้ได้นั้น ก็ง่ายมากและเป็นอะไรที่ตรงไปตรงมา เพราะปัจจุบันนี้เกมส์ต่างๆที่ออกมานั้นจะสร้างขึ้น/render เป็นระบบ HDR อยู่แล้ว ก็เพียงแต่ไปอัพเดทและการปรับปรุงแก้ไขภาพให้เสมอกันหรือบาแลนซ์กันในจอภาพ(ไม่สว่างหรือมืดเกินไป ณ จุดใดจุดหนึ่ง หรือทั้งสองจุด) tone mapper โดยให้ระบบ HDR ได้รับรู้หรือรู้จักเอาไว้, และก็นำระบบ API มาแชร์หรือร่วมด้วยช่วยกันอีกที ซึ่งเกมส์ก็จะจับสัญญานจอภาพที่เป็นระบบ HDR display ได้ และก็จะเปลี่ยนเป็นระบบ HDR mode.

HDR monitors คงจะยังไม่มีวางจำหน่ายไม่เร็วไปกว่าต้นปีหน้าอย่างแน่นอน แต่ทาง NVIDIA ได้เตรียมตัวมาให้เสร็จเรียบร้อยแล้วและรู้สึกจอทีวีตอนนี้ก็มีขายเป็นระบบ HDR TVs
GTX-1080-GAMESTREAM-HDR

ที่มาเครดิต

http://wccftech.com/nvidia-pascal-goes-full-in-with-hdr-support-for-games-and-4k-streaming-for-movies/

 

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า