ข่าวลือเกี่ยวกับทาง Nvidia’s ตัว Pascal architecture ที่กำลังมานั้นการประมวลผลทางด้านคำนวณนั้นจะไม่ดีเทียบเท่ากับ Async Compute

ข่าวลือเกี่ยวกับทาง Nvidia’s ตัว Pascal architecture ที่กำลังมานั้นการประมวลผลทางด้านคำนวณนั้นจะไม่ดีเทียบเท่ากับ  Async Compute (ระบบนี้จะมีประโยชน์อย่างมากในกรณีที่โปรแกรมหรือเกมเรียกใช้การประมวลผลแบบ Multi-threading หรือการกระจายงานให้ CPU สามารถประมวลผลได้หลายๆ thread ) หรือพูดง่ายๆก็คือไม่ต่างไปจาก (Maxwell). แต่ข่าวลือก็คือข่าวลือ เพราะกว่าเวลาการเปิดตัวจะมาถึง การพัฒนาคงจะก้าวข้ามตัว Maxwell และ FP64  ไปไกลแล้ว เพราะทาง Nvidia หวังเอาไว้ว่าจะผ่านปัญหาตัวนี้ไปได้ด้วยการใช้ศักยภาพของตัวมันเองโดยไม่พึ่งตัวช่วยใดๆ
new

Pascal architecture กับปัญหาด้าน asynchronous compute

Asynchronous compute เป็นยาวิเศษสำหรับกลุ่มผู้ใช้ Radeon ตั้งแต่มีตัว DirectX 12 API ออกมา สินค้าของทาง AMD ตอนนี้รองรับการทำงานของ DirectX 12 ทั้งหมดซึ่งก็หมายความว่าตัว GPUs สามารถทำงานร่วมกับ ASync ได้ ทางด้าน Nvidia GPUs นั้นออกมากล่าวว่าประสิทธิภาพการทำงานของตัว GPUs สามารถทำหน้าที่ได้ดีกว่าการมี ASync เสียอีก  (เป็นเหตุให้น่าสงสัยวาทาง  Nvidia จะ disabled ASync โดยตรงตรงส่วนของ  driver suite ซึ่งความเป็นจริงก็คือ GPUs ไม่สามารถทำงานควบคู่กับ  ASync ได้นั้นเองในส่วนของด้าน hardware level), แต่ต้องเพิ่มตัวปิด/เปิด switching ซึ่งจะเพิ่มทางด้านต้นทุนในส่วนที่เป็น frame rate. ตัว Geforce GPUs ดูเหมือนจะสรุปอยู่ที่ ทำๆไปก่อน ซึ่งจะไม่แปลกใจเลยหากการที่จะนำเอาตัว ASync มาใช้ร่วม ทางด้านประสิทธิภาพของตัว   frame rates ก็ยากที่จะคาดเดาได้

new2

 

ส่วนตัว Maxwell ที่กำลังจะหยุดผลิตนั้น ตรงกันข้าม สามารถที่จะรองรับ  DirectX 12 ที่ระดับ Level 12_1 (Radeon cards ได้แค่ที่ Level 12_0). ซึ่งจะทำให้ตัวการ์ดจอที่มีอยู่ ณ ขณะนี้ได้ประโยชน์จากเทคนิคนี้ที่มาจากตัว Direct3D 12 และไม่มีให้ใช้สำหรับผู้ใช้ AMD. VXGI/VXAO และ Hybrid Ray Traced Shadows (เป็นตัวโปรแกรมทางด้านแสงเงาของภาพ) เป้นตัวอย่างที่ดีสำหรับเทคนิคนี้ ไม่ว่าผู้ใช้จะอยู่หรือใช้ของค่ายไหน ย่อมที่จะมีทั้งจุดเด่นและจุดด้อยด้วยกันโดยหลีกเลี่ยงไม่ได้ และในส่วนของ Pascal และ Polaris ก็จะมาเชื่อมต่อในส่วนนี้กับ DirectX 12. แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดในตอนนี้ก็คือ อย่าลืมว่ายังไงก็ต้องเป็นตัว ASync ที่เป็นตัวช่วยให้ GPU’ ใช้ในสิ่งที่มีอยู่ในตัวได้แบบเต็มประสิทธิภาพ 

new3

มีเหตุผลหนึ่งที่น่าคิดก็คือ การออกแบบตัว chip นั้นไม่ได้เสร็จภายในวันเดียว แต่ใช้เวลาเป็นปีๆกว่าจะคิดออกและทำได้ เทคนิคของ Asynchronous Compute พึ่งจะออกมาเมื่อปีที่แล้วและเป็นตัวที่น่่าสนใจต่อบรรดาผู้ผลิต ซึ่งหากถามว่า ทำไมไม่นำมาใช็ คงจะตอบให้ได้ว่า เวลาไม่พออ่ะดิ เพราะมันไม่ใช่แผนงานครั้งแรกๆเลยในตอนนั้น และล่าสุด ดูเหมือนทาง  Nvidia กำลังผลักดัน แผนกพัฒนาเกี่ยวกับเกมส์ GameWorks SDK และสร้างเว็ปผ่านทาง GitHub ซึ่งต้องการรับรู้ว่า เกมส์ที่นำเทคนิคนี้ (FP64 หรือ double precision performance)ไปใช้นั้นสามารถทีจะทำงานรวมกับ  Nvidai GPU ได้อย่างไม่มีปัญหา (ถ้าเอาแบบง่ายก้คือ ค่ายเขียวใช้เครื่องยนต์ แต่ค่ายแดงใช้ กล่องจูนเครื่องยนต์)

ที่มาเครดิต wccftech

 

Related articles

Write-Up (Reverse Engineering) : กิจกรรม SWU CTF แข่งขันชิงธงจาก มศว. สำหรับน้อง ๆ สาย Cybersecurity

ผมคิดว่าหลาย ๆ คนที่เคยอ่านเรื่องราวของผมมาบ้าง น่าจะพอทราบกันดีว่าปกติผมสอบใบเซอร์อย่างเดียว ไม่ได้เคยลองทำงานหรือลงแข่งในสนามจริงของ Cybersecurity มากนัก โดยเฉพาะฝั่ง Red...

แนะนำ 5 ดิสโทร Linux สำหรับมือใหม่โยกย้ายจาก Windows

เมื่อ Windows 10 กำลังจะหยุดการสนับสนุนในปี 2025 เรามีทางเลือกหลายทางเลือก (อ่านเพิ่มเติมที่นี่) ทางเลือกหนึ่งสำหรับคนที่ไม่อยากไปต่อกับ Windows...

5 ทางเลือกของคุณ เมื่อ Windows 10 หยุดซัพพอร์ต

14 ตุลาคมนี้ Microsoft จะยุติการซัพพอร์ต Windows 10 อย่างเป็นทางการนะครับ อาจมีเพื่อน ๆ...

วิเคราะห์ลิงก์ปลอม แจก Steam Gift ขโมย Username/Password ผู้ใช้ !!

นั่งคอมอยู่ดี ๆ จู่ ๆ ก็มีแชตเด้งจากใน Steam ขึ้นมา เป็นลิงก์แจก Steam...

แชร์ประสบการณ์สอบ TryHackMe PT1 – เจาะระบบสำหรับ Junior จริงหรือเปล่า?

เพิ่งสอบ PJPT ไปหมาด ๆ (อ่านรีวิว PJPT ได้ที่นี่) ผมก็ต่อใบเซอร์อีกค่ายเลย นั่นคือ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า