Review: OCZ TRION 100 960 GB คุ้มค่ากับความจุต่อราคามาพร้อมกับความแรง

Review: OCZ TRION 100  960 GB คุ้มค่ากับความจุต่อราคามาพร้อมกับความแรง

สวัสดีครับทุกๆท่าน กลับมาเจอกันอีกครั้งหนึ่งในวันนี้ ทางเรามาอยู่กันที่หน่วยความจำกันสักหน่อย สำหรับในช่วงนี้เรียกว่าการจัดเก็บข้อมูลแบบใช้ SSD ในการเก็บข้อมูลเพราะว่าในปัจุบันนั้นโปรแกรมต่าๆเริ่มมีความใหญ่มากยิ่งขึ้นและเวลาเปิดใช้งานโปรแกรมนั้น HDD แบบจานหมุนปกตินั้นเริ่มจะเปิดไม่ทันแล้ว ทำให้ SSD เริ่มมีบทบาทในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้นนั้นเองครับ และเนื่องจากคนเริ่มนิยมทำให้ราคานั้นค่อยๆถูกลงขึ้นเรื่อยๆแล้ว สำหรับวันนี้ทางผมก็ได้รับ ssd จากทาง MemoryToday เป็นยี่ห้อ OCZ ในรุ่น TRION 100 เน้นประหยัดแต่ก็แรงเอาเรื่องครับ สำหรับวันนี้ที่ได้รับมาจะเป็นความจุขนาด 960 GB

1

2

3

4

5

6

8

ทั้งหมดนั้นจะมี 4 ขนาดความจุให้เลือกใช้งาน

 

DSC_9389

หน้าตากล่องของตัว SSD นั้นมาในขนาดไม่ใหญ่มากครั้บ ทางด้านหน้ากล่องนั้นก็ได้มีรูป ssd ocz trion  100 ในขนาดความจุ 960 GB

DSC_9390

แกะกล่องออกมาก็จะพบกับคู่มือการใช้งานต่างๆ โดยตัว ssd นั้นจะใส่เอาไว้ในกล่องพลาสติกใส่มองเป็นตัว ssd ได้อย่างชัดเจน

DSC_9392

มาดูกันที่ตัว ssd กันก่อนเลยดีกว่าครับ ตัว ssd นั้นก็เรียบๆ โดยโทนสีจะมาในสีขาวเทาๆ มีการบอกชื่อรุ่นเอาไว้อย่างชัดเจน

DSC_9394

ความหนาของตัว ssd จะอยู่เพียง 7 mm เท่านั้น ทำให้สามารถใส่กับพวกโน๊ทบุคเครื่องบางๆได้สบายๆ
หรือถ้าใครใส่เครื่องที่หนาก็สามารถใส่ได้แต่ต้องเอากระดาษรองเพื่อให้แน่น

DSC_9396

ทางด้านหลังของตัว ssd นั้นจะมีป้ายลาเบลบอกสเปคของตัว ssd และขนาดความจุเอาไว้

DSC_9400

สำหรับ ssd ลูกนี้ ใจจริงแล้วผมอยากแกะออกมาให้ดูภายในแต่ทว่ามันแกะไม่ออกครับ เพราะว่าลูกนี้ได้ใช้งานเป็นสลักยึดตัว ssd
เอาไว้ทำให้เปิดออกมาดูภายในไม่ได้ถ้าไม่รู้ตำแหน่งสลัก

DSC_9399

สำหรับในการเชื่อมต่อนั้นจะใช้งานเป็น SATA 3 แบบทั้วไปปกติ

Mainboard
ASUS MAXIMUS VIII HERO
CPU
INTEL Core i7 6700k
CPU Cooler
Custom Watercooling
Memory
g.skill trident z 3200 MHz 16 GB
VGA
PowerColor R9 FURY X 4GB HBM Support By Powercolor
SSD
Ocz Vector 150 240 GB
SSD
Ocz TRION 100  960 GB
Power Supply
CORSAIR AX 1500i

 

1

 

2

 

3

 

4

 

5

 

6

 

7

 

8

 

9

 

10

 

11

 

12

 

เป็นอย่างไรกันบ้างครับสำหรับการทดสอบความแรงเรียกว่าต้อตกใจเลยทีเดียวสำหรับ ssd ในราคาไม่แพงมากในยุคนี้ ทำผลงานความเร็วเรียกว่าทะลุ 500 ไปอย่างนิ่มๆเลย โดยถ้าอ้างอิงจากโปรแกรม Crystal แล้วนั้นจะเห็นว่าอ่านเขียนอยู่ที่ 562/535 MB/s เลยทีเดียวครับด้วยความแรงขนาดนี้ก็คงต้องขอบคุณอานิสงจากชิพ Toshiba TLC มันถึงได้มีความแรงขนาดนี้ และเวลาใช้งานจริงนั้นความเร็วก็ไม่ตกด้วยเวลามีข้อมูลข้างใน ssd ถือว่าเป็น ssd อีกตัวหนึ่งที่น่าสนใจไม่ใช่น้อยครับ สำหรับวันนี้ทางผมก็ต้องขอขอบคุณทาง Memorytoday ที่ได้นำตัวนี้มาทดสอบ สำหรับคร่าวหน้าจะมีอะไรเด็ดๆอีกบ้างนั้นต้องติดตามชม สำหรับวันนี้ต้องขอตัวลาไปก่อนสวัสดีครับ

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า