Review:ASUS CROSSHAIR VI HERO รีดพลังให้สุดจัดเต็มทั้งบัสแรมและ CPU!!

CPU
AMD RYZEN 7 1800X @4.15 GHz
CPU Cooler
Custom Watercooling
Thermal Compound
CoolerMaster Master GEL MAKER NANO
Mainboard
ASUS Crosshair VI HERO
Memory
T-FORCE XTREEM DDR4-4000CL18 1.35V 16GB
VGA Card
PowerColor Red Devil RX480 Gaming 8 GB
SSD
KLEVV URBANE 480 GB
Power Supply
Corsair AX 1500i
Chassis
DimasTech Easy XL
OS
Windows 10 pro

 

ชุดที่ 2จะเป็นแบบเดิมแต่ผมได้ทำการเปลียนชุดระบายความร้อนเป็นชุดน้ำ พร้อมทั้งเปลียนแรม และปรับไปวิ่งที่บัส 3600 MHz เพื่อให้เห็นว่า IMC ของตัว CPU สามารถรองรับบัสแรมความเร็วสูงถึง 3600 MHz ได้สบายๆ และเค้นประสิทธิภาพ Overclock CPU ไปได้นิ่งๆที่ 4.0 GHz

บรรยากาศขณะทำการทดสอบผมจะใช้งานเป็นชุดน้ำเปิด ระบบที่ผมใช้งานประจำ เพื่อให้สามารถรีดประสิทธิภาพ CPU ออกมาได้มากที่สุดครับ ตรงนี้เป็นความเร็ว 4.15 GHz นะครับพอดีลืม Save ภาพสเปคเต็มๆเอาไว้


superPI แรงระดับ 8 นาทีนิดๆ เรียกว่าแรงหลุดโลกถ้าได้สัก 7.5 GHz น่าจะเห็น7 นาที

วิ่งเต็ม 8 หัว ก็สามารถเทสผ่านที่ความเร็ว 4.15 GHz ได้อย่างสบายๆครับ

เรื่องของแรมนั้นก็จัดได้เน้นๆ ถ้าเอาสเถียนก็ 3200 MHz ถ้าจะเอาบ้าตัวเลขก็จัดได้ที่บัส 3600-3700 MHz ครับ

MAX Overclock For RAM 3722.8 MHz


MAX Overclock For CPU 4.252 GHz

ก็จบไปแล้วสำหรับการทดสอบนะครับ เป็นยังไงกับความแรงกันบ้าง บอกแล้วว่าเมนบอร์ดตัวนี้มันสามารถจัดเต็มไปได้ทุกเม็ตทุกหน่วยเลยทีเดียวไม่ว่าเรื่องของบัสแรมที่สามารถเทสผ่านที่บัส 3600 MHz ในบ้างการทดสอบ อาจจะต้องไล่หาค่าที่เหมาะสมให้มากกว่านี้ครับ แต่หลังจากลองแล้วถ้าจะเล่น CPU ที่ GHz สูงๆจะไม่สามารถเล่นบัสแรมสูงตามได้ต้องทดลงมาครับถ้าเน้น Performance แล้วละก็ที่บัส 3200 MHz +- กำลังดีที่สุดเท่าที่ผมไล่มา 3-4 วัน ส่วนเรื่องของความเร็วส CPU ถ้าใช้งานจริงผมแนะนำที่ความเร็ว 3.9-4.0 GHz สามารถใช้งานจริงแบบสบายๆเลยทีเดียวครับ โดยในเวลานี้ถือว่าเป็นเมนบอร์ดที่ทำออกมาได้สมบูรณ์มากที่สุดครับ สามารถเล่นได้ทั้งความเร็ว CPU ที่สูง หรือบัสแรงที่สูงได้นิ่งที่สุดครับ โดยถ้าไม่ลากบัสตัวแรมนั้นสามารถทดได้ความเร็วมากถึง 3200 MHz ครับ สำหรับวันนี้ทางผมก็คงต้องขอตัวลาไปก่อน สวัสดีครับ

Related articles

แรมบัสสูง vs. แรม CL แน่น ๆ – จะประกอบคอมเล่นเกม ต้องใช้แรมบัสสูง ๆ จริงหรือไม่?

เรื่องตัวเลขความเร็วในวงการคอมพิวเตอร์มันเป็นของคู่กันนะครับ แต่ในอุปกรณ์บางอย่าง ความเร็วอาจไม่ใช่คำตอบเสมอไป และแรมก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างที่เราไม่สามารถมองได้แค่ตัวเลขของความเร็วหรือบัสแรมเพียงอย่างเดียวครับ ทำไมเป็นอย่างนั้น ผมจะพาไปหาคำตอบครับ รายละเอียดของการทดสอบและผลทดสอบขอหยิบยกมาจากเว็บไซต์ Techspot ซึ่งได้มีการทดสอบประสิทธิภาพของแรม DDR5 ที่บัส 5600MHz,...

แอลจีเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” ภายใต้แนวคิด AI ความอัจฉริยะที่มีเสน่ห์

แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (แอลจี) เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาใหม่ล่าสุดภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีที่เข้าใจคุณมากขึ้น” (Less Artificial, More Human)...

[Extreme History] – ELIZA แชตบ็อตนักบำบัด (จอมปลอม) สร้างขึ้นเพื่อทดสอบจิตใจมนุษย์

จากหัวเรื่องผมไม่ได้กล่าวเกินจริงแต่อย่างใด เพราะ ELIZA ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดสอบจิตใจ (หลอกลวง) มนุษย์ ถึงขนาดทำให้นักจิตบำบัดยังหลงเชื่อว่ามันคือ AI ที่สามารถบำบัดจิตได้จริง...

“realme 14 Series 5G” X “Bacon Time” ผนึกกำลังทีมอีสปอร์ตระดับโลก เปิดตัว Performance Dominator คนใหม่ สัมผัสนวัตกรรมเกมมิ่งโฟนสุดยิ่งใหญ่ 27 มีนาคมนี้ พร้อมกัน!

realme (เรียลมี) แบรนด์เทคโนโลยีเพื่อคนรุ่นใหม่ที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก ประกาศแผนกลยุทธ์ปี 2568 เดินหน้าสู่การเป็นสมาร์ตโฟนที่สมบูรณ์แบบทั้งในด้านประสิทธิภาพ ดีไซน์ และคุณภาพการใช้งาน ประกาศจับมือ...

ศัพท์การ์ดจอต้องรู้ – TDP, TGP และ TBP ตัวย่อบอกการใช้พลังงาน แต่ละอันคืออะไรกันนะ ??

ไม่ว่าใครที่เข้าวงการคอมพิวเตอร์มาทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ น่าจะคุ้นเคยกับตัวย่อ TDP, TGP และ TBP โดยเฉพาะการ์ดจอ แต่ผมก็เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่สงสัยว่าจริง ๆ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า